วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 9
วันศุกร์ ที่ 31 มกราคม พ.ศ.2557

   การเรียนในครั้งนี้เรียนอาจารย์ให้นำเสนอสื่อที่ทำมาโดยให้แต่ละกลุ่มออกมาบอกผลงานของตน
โดยกลุ่มที่เสนอมีทั้งหมด 25 กลุ่มโดยมีดังต่อไปนี้
- ตามหาคู่แท้  - นับเลขซูชิ - วงล้อมหาสนุก - ฝาแฝด - รูปทรงหรรษา - กระถางลูกโป่ง
- เด็กน้อยนับเลข - ถาดไข่มหัศจรรย์ - คณิตคิดสนุก - ลูกเต๋าตามจินตนาการ - จำนวนนับ 
- จับคู่หาตัวเลข - จำนวนนับเรขาคณิต - มานับเลขกันเถอะ - มาเติมตัวเลขกันเถอะ - พีชคณิต ปู๊นๆ
- โดนัทตัวเลข - ตาชั่ว - จิ๊กซอวเรขาคณิต - ดอกไม้นับจำนวน - ฝากบอกจำนวน - 2 IN 1 - แพนกวินกินปลา - โดมิโน่เรขาคณิต - ขวดสีหรรษา - ฟันนี่ปล็อค 


อาจารย์อธิบายก่อนเริ่มเสนอ
 ตัวอย่างเช่น
กลุ่มของเป้ เสนอ วงล้อมหาสนุก









เด็กน้อยนับเลข











โดยกลุ่มของข้าพเจ้าได้ทำสื่อเรื่อง ดอกไม้นับจำนวน
















โดยมีกลุ่มที่ข้าพเจ้าชอบคือ นับเลขซูชิ เหตุผลที่ชอบคือ การออกแบบได้น่าสนใจทั้งสี และรูปร่าง การจัดวางและการนำเสนอ ที่น่าสนใจและน่าเล่น



วันพุธที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 8
วันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ.2557

     เรียนเรื่องการเขียนแผนคณิตศาสตร์โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน โดยให้ช่วยกันคิด โดยกิจกรรมนี้สอนให้รู้การต้องเขียนแผนในอนาคต การคิดกิจกรรมที่จะสอนและสามารถบูรณาการกับทุกวิชาไม่ว่าจะเป็นแผนคณิตศาสตร์สามารถคุ่กับกิจกรรมการเคลื่อนไหวกลางแจ้ง

สาระการเรียนรู้ที่จะเขียนแผน

แบบแผนที่ต้องใช้ในอนาคต

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 7
วันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ.2557

การเรียนในครั้งนี้อาจารย์มีกิจกรรม 2 กิจกรรม คือ แบ่งกลุ่มเป็น 3 กลุ่มโดยให้ตัวแทนออกมาจับฉลากโดยมีแผนภูมิแบบแท่ง ความแตกต่างแบบวงกลม และ แยกประเภทของสิ่งของต่างๆแบบตาราง กลุ่มของข้าพเจ้าได้ ความแตกต่างแบบวงกลมเรื่อง จักรยานและมอเตอร์ไซต์
    กิจกรรมที่ 2 คือแบ่งกลุ่ม 5-6 คน โดยให้ทำเป้นหนอนแบบไหนก็ได้โดยให้ใช้รูปทรงเรขาคณิตเข้ามาประกอบ โโยกลุ่มของข้าพเจ้าทำออกมาเป็น


หนอนแสนซน 
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 6
วันศุกร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ.2557


อาจารย์สอนเรื่องทฤษฎีเกี่ยวกับกรอบมาตราฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
ว่าเด็กเรียนรู้ได้อะไรบ้าง และมีสาระที่เด็กๆควรรู้มี 6 สาระ คือ
สาระที่ 1  จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2  การวัด
สาระที่ 3  เรขาคณิต
สาระที่ 4  พีชคณิต
สาระที่ 5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6  ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

โดยแสดงมาตราฐานดังนี้

สาระที่ 1 : จํานวนและการดําเนินการ 
มาตรฐาน ค.ป. 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช 
 จํานวนในชีวิตจริง 
สาระที่ 2 : การวัด 
มาตรฐาน ค.ป. 2.1 : ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
สาระที่ 3 : เรขาคณิต 
มาตรฐาน ค.ป. 3.1 : รู้จักใช้คําในการบอกตําแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง 
มาตรฐาน ค.ป. 3.2 : รู้จัก จําแนกรูปเรขาคณิต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลง 
 รูปเรขาคณิตที่
เกิดจากการจัดกระทํา 
 สาระที่ 4 : พีชคณิต 
มาตรฐาน ค.ป. 4.1 : เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์ 
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
มาตรฐาน ค.ป. 5.1 : รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม และนําเสนอ 
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

โดยค้นหาได้จาก  กรอบมาตราฐานคณิตศาสตร์ปฐมวัย
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 5
วันศุกร์ ที่  13 ธันวาคม พ.ส.2556


สัปดาห์นี้ ข้าพเจ้าไม่ได้เข้าเรียน เนื่องจากไม่สบาย แต่ถามเพื่อนว่าอาจารย์ให้ทำรูปสัตว์อะไรก็ได้จากรูปทรงเรขาคณิต



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 4

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 4
วันศุกร์ ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2556

การนำเสนอหน้าชั้นเรียนของแต่ละกลุ่มโดยมีทั้งหมด 5 กลุ่ม

กลุ่มที่ 1. ได้เรื่อง จำนวน 
กลุ่มที่ 2. ได้เรื่อง การวัด
กลุ่มที่ 3. ได้เรื่อง เรขาคณิต
กลุ่มที่ 4. ได้เรื่อง พีชคณิต
กลุ่มที่ 5. ได้เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

จากการที่ได้ฟังการนำเสนอของเพื่อนแต่ละกลุ่ม ทำให้รู้ว่าแต่ละด้านของคณิตศาสตร์เด็กๆจำเป็นต้องมีความพร้อมและมีความเข้าใจเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นในระดับที่สูงขึ้นโดยวัยนี้ไม่่เป็นเป็นต้องเน้นเนื้อหาเยอะ  เพียงแค่สอนพื้นฐานเพื่อให้เข้าใจ
จำนวน

เรขาคณิต


การวัด

วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

 บันทึกการเรียนการสอน  ครั้งที่3

  วันศุกร์ ที่ 22  พฤศจิกายน  พ.ศ. 2556


การเรียนการสอนวันนี้เรียนเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก ว่าเด็กจะต้องมีความเข้าใจเป็นพื้นฐาน รู้จักการใช้กระบวนการหาคำตอบ ฝึกฝนคณิตศาสตร์สม่ำเสมอ  โดยความสำคัญทางคณิตศาสตร์จะเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆในชีวิตประจำวันได้
                                 ตัวอย่าง


การนำวงกลมมา มีสีแดง น้ำเงินมา และให้สังเกตว่ามีจำนวนเท่ากันหรือไม่ โดยเด็กๆจะตอบว่าเท่ากันหรือไม่เท้่ากันตามสิ่งที่เห็น 
กิจกรรมท้ายคาบนี้  อาจารย์ตฤณให้นักศึกษาทำดอกไม้โดยให้เขียนเลขที่ชอบ และทำกลีบดอกไม้ตามที่เขียน
                                                                           ดิฉันจึงวาดรูปนี้

กิจกรรมนี้เราสามารถนำไปสอนเด็กปฐมวัยในเรื่องของคณิตศาสตร์ได้ เช่นการสอนให้เด็กนับจำนวน การสังเกต และฝึกฝนด้านศิลปะควบคู่ เพื่อเป็นการส่งเสริมทักษะต่างๆ ที่จะนำไปบูรณาการกิจกรรมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ การมีความคิดสร้างสรรค์  และจินตนาการในการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  

           ความรู้ที่ได้รับ  การทำกิจกรรมนี้จะทำให้เด็กๆมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สามารถนับเลขและรู้จำนวนสามารถนำไปสอนเด็กๆให้มีพัฒนาการด้านสติปัญญา